วันพุธที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2560

การให้เหตูผลเเบบอุปนัย

การให้เหตูผลเเบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (อังกฤษInductive reasoning) หรือ การให้เหตุผลจากล่างขึ้นบน (อังกฤษbottom-up logic) เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้ง แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไปอ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ การให้เหตุผลแบบอุปนัย

ยูเนียน อินเตอณ์เซกชันเเละคอมพลีเมนต์ของเซต

ยูเนียน (Union)
ยูเนียน (Union) มีนิยามว่า เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A ∪ B

ตัวอย่างเช่น

A ={1,2,3}

B= {3,4,5}

∴ A ∪ B = {1,2,3,4,5} อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และ คอมพลีเมนต์ของเซต

สับเซตเพาเวอร์เซต

สับเซต (Subset)


ถ้าสมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B แล้ว จะเรียกว่า A เป็นสับเซตของ B จะเขียนว่า
เซต A เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊂ B
ถ้าสมาชิกบางตัวของ A ไม่เป็นสมาชิกของ B จะเรียกว่า A ไม่เป็นสับเซตของ B
เซต A ไม่เป็นสับเซตของเซต B แทนด้วย A ⊄ Bอ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ สับเซตเพาเวอร์เซต

เอกภพสัมพัทธ์

เอกภพสัมพัทธ์

อกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe)

เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่กำหนดขอบเขตของสิ่งที่ต้องการศึกษา ซึ่งถือว่าเป็นเซตที่ใหญ่ที่สุด โดยมีข้อตกลงว่า ต่อไปจะกล่าวถึงสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น จะไม่มีการกล่าวถึงสิ่งใดที่นอกเหนือไปจากสมาชิกของเซตที่กำหนดขึ้นนี้ โดยทั่วไปนิยมใช้สัญลักษณ์ U แทนเอกภพสัมพัทธ์
เช่น กำหนดให้ U = {1,2,3,4,5,6,7,8}
A = {1,3,5,7}
B = {2,4,8}
หรือกำหนดให้ U = {x ε I+ | 1<x<20}
A = {x ε U | x=n+3 เมื่อ n เป็นจำนสวนเต็มคี่บวก}
B = {x ε U | x=n+3 เมื่อ n เป็นจำนสวนเต็มคู่บวก}
นั่นคือทั้ง A และ B เป็นสับเซตของ U อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เอกภพสัมพัทธ์

เซต

เซต
เซต  เป็นคำที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น
       เซตสระในภาษาอังกฤษ  หมายถึง  กลุ่มของอังกฤษ  a, e, i, o และ u
       เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง  กลุ่มตัวเลข 1,2,3,4,5,6,7,8,และ9
        สิ่งที่ในเชตเรียกว่า  สมาชิก  ( element หรือ members )อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เซต